มูลค่าการค้าระหว่างประเทศ ตามประเภทการขนส่ง (ม.ค.-ธ.ค. 2564)

มูลค่าการค้าระหว่างประเทศ  ตามประเภทการขนส่ง (ม.ค.-ธ.ค. 2564)

มูลค่าการค้าระหว่างประเทศตามประเภทการขนส่ง (ม.ค.-ธ.ค. 2564)
การขนส่งทางเรือ 

คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 67.2  ของการขนส่งทั้งหมด มีมูลค่ารวมกว่า 11.49 ล้านล้านบาท และมีสัดส่วนการเติบโตอยู่ที่ร้อยละ 28.8 เมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันในปี 2563 โดยตลาดส่งออกที่สำคัญ ได้แก่ จีน ญี่ปุ่น สหรัฐฯ ตามลำดับ และสินค้าสำคัญ เช่น น้ำมันปิโตเลียมดิบ ชิ้นส่วนรถยนต์ น้ำมันปิโตเลียม เป็นต้น ทั้งนี้ ด่านศุลกากรที่สำคัญ ได้แก่ ท่าเรือฮัทชิสัน แหลมฉบังฯ ด่านศุลกากรมาบตาพุด (ปิโตเลียม) และท่าเรือกลุ่ม TIPS (สทบ.)

การขนส่งทางอากาศ
คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 3.72 ของการขนส่งทั้งหมด มีมูลค่ารวมกว่า 3.72 ล้านล้านบาท และมีสัดส่วนการเติบโตอยู่ที่ร้อยละ 13.3 เมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันในปี 2563 โดยตลาดส่งออกที่สำคัญ ได้แก่ จีน สหรัฐฯ ญี่ปุ่น ตามลำดับ และสินค้าสำคัญ เช่น วงจรอิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์สื่อสาร เป็นต้น ทั้งนี้ ด่านศุลกากรที่สำคัญ ได้แก่ คลังสินค้าการบินไทย คลังสินค้าดับบลิวเอฟเอสจี คาร์โก้ และคลังสินค้าดับบลิวเอฟเอสจี (Express)

การขนส่งทางถนน
คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 10.9 ของการขนส่งทั้งหมด มีมูลค่ารวมกว่า 1.86 ล้านล้านบาท และมีสัดส่วนการเติบโตอยู่ที่ร้อยละ 32.7 เมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันในปี 2563 โดยตลาดส่งออกที่สำคัญ ได้แก่ จีน มาเลเซีย ลาว และสินค้าสำคัญ เช่น อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์บันทึกเทป ยางธรรมชาติ เป็นต้น ทั้งนี้ ด่านศุลกากรที่สำคัญ ได้แก่ ด่านศุลกากรสะเดา ด่านศุลกากรมุกดาหาร และเขตปลอดอากร (ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ)

การขนส่งทางราง
คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 0.1 ของการขนส่งทั้งหมด มีมูลค่ารวมกว่า 0.02 ล้านล้านบาท และมีสัดส่วนการเติบโตอยู่ที่ร้อยละ 34.8 เมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันในปี 2563 โดยตลาดส่งออกที่สำคัญ ได้แก่ จีน เกาหลีใต้ มาเลเซีย และสินค้าสำคัญ เช่น ยางสังเคราะห์ ยางธรรมชาติ แผ่นไม้อัด เป็นต้น ด่านศุลกากรที่สำคัญ ได้แก่ ด่านศุลกากรปาดังเบซาร์ ท่าเรือกลุ่ม GREEN SIAM และท่าเรือแหลมฉบังอินเตอร์

 

มูลค่าการค้าระหว่างประเทศตามประเภทการขนส่ง (ม.ค.-ธ.ค. 2564)
การขนส่งทางเรือ 

คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 67.2  ของการขนส่งทั้งหมด มีมูลค่ารวมกว่า 11.49 ล้านล้านบาท และมีสัดส่วนการเติบโตอยู่ที่ร้อยละ 28.8 เมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันในปี 2563 โดยตลาดส่งออกที่สำคัญ ได้แก่ จีน ญี่ปุ่น สหรัฐฯ ตามลำดับ และสินค้าสำคัญ เช่น น้ำมันปิโตเลียมดิบ ชิ้นส่วนรถยนต์ น้ำมันปิโตเลียม เป็นต้น ทั้งนี้ ด่านศุลกากรที่สำคัญ ได้แก่ ท่าเรือฮัทชิสัน แหลมฉบังฯ ด่านศุลกากรมาบตาพุด (ปิโตเลียม) และท่าเรือกลุ่ม TIPS (สทบ.)

การขนส่งทางอากาศ
คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 3.72 ของการขนส่งทั้งหมด มีมูลค่ารวมกว่า 3.72 ล้านล้านบาท และมีสัดส่วนการเติบโตอยู่ที่ร้อยละ 13.3 เมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันในปี 2563 โดยตลาดส่งออกที่สำคัญ ได้แก่ จีน สหรัฐฯ ญี่ปุ่น ตามลำดับ และสินค้าสำคัญ เช่น วงจรอิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์สื่อสาร เป็นต้น ทั้งนี้ ด่านศุลกากรที่สำคัญ ได้แก่ คลังสินค้าการบินไทย คลังสินค้าดับบลิวเอฟเอสจี คาร์โก้ และคลังสินค้าดับบลิวเอฟเอสจี (Express)

การขนส่งทางถนน
คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 10.9 ของการขนส่งทั้งหมด มีมูลค่ารวมกว่า 1.86 ล้านล้านบาท และมีสัดส่วนการเติบโตอยู่ที่ร้อยละ 32.7 เมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันในปี 2563 โดยตลาดส่งออกที่สำคัญ ได้แก่ จีน มาเลเซีย ลาว และสินค้าสำคัญ เช่น อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์บันทึกเทป ยางธรรมชาติ เป็นต้น ทั้งนี้ ด่านศุลกากรที่สำคัญ ได้แก่ ด่านศุลกากรสะเดา ด่านศุลกากรมุกดาหาร และเขตปลอดอากร (ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ)

การขนส่งทางราง
คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 0.1 ของการขนส่งทั้งหมด มีมูลค่ารวมกว่า 0.02 ล้านล้านบาท และมีสัดส่วนการเติบโตอยู่ที่ร้อยละ 34.8 เมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันในปี 2563 โดยตลาดส่งออกที่สำคัญ ได้แก่ จีน เกาหลีใต้ มาเลเซีย และสินค้าสำคัญ เช่น ยางสังเคราะห์ ยางธรรมชาติ แผ่นไม้อัด เป็นต้น ด่านศุลกากรที่สำคัญ ได้แก่ ด่านศุลกากรปาดังเบซาร์ ท่าเรือกลุ่ม GREEN SIAM และท่าเรือแหลมฉบังอินเตอร์